ตัวอย่างที่ 1 HF, HNO2 , CH 3COOH , HClO4 , Ba(OH)2 , NH2+ , NH3

วิธีทำ
HF (g) + H2O (l) H3O+ (aq) + F- (aq)

HNO2 (l) + H2O (l) H3O+ (aq) + NO2- (aq)

CH3COOH (l) + H2O (l) H3O+ (aq) + CH3COO- (aq)

HClO4 (l) + H2O (l) H3O+ (aq) + ClO4- (aq)

Ba(OH)2 (s) + H2O (l) Ba2+ (aq) + 2OH- (aq)

NH4+ (aq) + H2O NH3 (aq) + H3O+ (aq)

NH3 (g) + H2O (l) NH4 + (aq) + OH- (aq)

             หมายถึง เกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า ไม่เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ

หมายถึง เกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าและปฏิกิริยาย้อนกลับ

ตัวอย่างที่ 2 เพราะเหตุใดสารละลายที่ี่เกิดจากแคลเซียมไฮดรอกไซด์ Ca(OH)2 ละลายน้ำจึงเป็นเบส แต่สารละลายเอทานอล C2H5OH จึงไม่เป็นเบส

วิธีทำ จะต้องพิจารณาดังนี้

1. โครงสร้างของพันธะเคมีของ Ca(OH)2 และ C2H5OH เป็นดังนี้

2. จากข้อ 1. ดังนั้น Ca(OH)2 ละลายน้ำจะเกิดการแตกตัวดังนี้

Ca(OH)2(s) Ca2+ (aq) + 2OH- (aq)

ซึ่ง OH-(aq) ที่ได้จะแสดงสมบัติเป็นเบส

ส่วนเอทานอล เมื่อละลายน้ำจะไม่แตกตัวให้ OH- (aq) เนื่องจากเป็นพันธะโคเวเลนต์ ดังนั้นจึงไม่มีส่วนใดที่จะแสดงสมบัติเป็นเบส

ตัวอย่างที่ 3 สารละลายต่อไปนี้ี้ถ้านำมาทดสอบกับกระดาษลิตมัส จะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง น้ำปูนใส น้ำโซดา

วิธีทำ
น้ำปูนใส คือสารละลาย Ca(OH)2 เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากแดงเป็นน้ำเงิน

Ca(OH)2(s) Ca2+ (aq) + 2OH- (aq)

น้ำโซดา คือสารละลายกรด H2CO3 เกิดจากการรวมตัวของ CO2 กับน้ำ เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากน้ำเงินเป็นแดง
                                                          
CO2 (g) + H2O H2CO3 (aq)+H2O H3O+ (aq) + HCO3- (aq)