เรโซแนนซ์ในวงจรอนุกรม
RLC (Resonance in RLC Series Circuit)
การต่อแบบอนุกรม กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทาน (R)
ตัวเหนี่ยวนำ (L) และตัวเก็บประจุ (C) จะมีค่าเท่ากัน เราจึง
พิจารณาเฉพาะความต่างศักย์เท่านั้น โดย
ซึ่งสามารถเขียนแผนภาพเฟเซอร์ได้ ดังนี้

จากแผนภาพเฟเซอร์ใหม่นี้ จะได้ว่า
ค่าความถี่ f นี้ เรียกว่า ค่าความถี่เรโซแนนซ์ (Resonance)
ซึ่งมีผลทำให้ กับ หักล้างกันหมด สรุปได้ว่าใน
การต่อ RLC
แบบอนุกรม เมื่ออยู่ในสภาวะรีโซแนนซ์ ค่ากระแสไฟฟ้า
ในวงจร จะมีค่ามากที่สุด
และสามารถเขียนแผนภาพเฟเซอร์ได้ ดังนี้
วงจร RLC ที่ต่อแบบขนานกับเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
การต่อแบบขนาน ความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทาน (R)
ตัวเหนี่ยวนำ (L) และตัวเก็บประจุ (C) จะมีค่าเท่ากัน
เราจึงพิจารณาเฉพาะกระแสไฟฟ้าเท่านั้น โดย
ค่าความถี่ f นี้ เรียกว่า ค่าความถี่รีโซแนนซ์ (Resonance)
ซึ่งมีผล
ทำให้ กับ หักล้างกันหมด สรุปได้ว่าใน การต่อ RLC แบบขนาน
เมื่ออยู่ในสภาวะรีโซแนนซ์ ค่ากระแสไฟฟ้าในวงจร จะมีค่าน้อยที่สุด
และสามารถเขียนแผนภาพเฟเซอร์ได้ ดังนี้
|