ชื่อ-นามสกุล ดร. ภิญโญ พานิชพันธ์
(Dr. Bhinyo Panijpan) |
|
|
วัน เดือน ปีเกิด |
19 สิงหาคม 2485 |
ตำแหน่งงานปัจจุบัน |
ผู้อำนวยการสถาบันนวัตกรรมและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล |
สถานที่ติดต่อ |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ถนนพระราม 6 กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท์ 0-2201-5728-9, 0-2201-5886
โทรสาร 0-2354-7345
E-mail address : directil@mahidol.ac.th
scbpn@mahidol.ac.th |
|
ประวัติการศึกษา
|
• |
โรงเรียนอัสสัมชัญ กรุงเทพฯ |
• |
ปริญญาตรีสาขา ชีวเคมี (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลีย (2508) |
• |
ปริญญาเอกสาขา สาขาชีวฟิสิกส์ระดับโมเลกุล มหาวิทยาลัยลอนดอน ประเทศอังกฤษ (2516) |
• |
Certificate, Risk Assessment and Prevention in Local Community Development and Planning,Gothenberg, Sweden (2537) |
|
รางวัลที่ได้รับ
|
• |
รางวัลนักวิจัยดีเด่นจากมหาวิทยาลัยมหิดล (2525) |
• |
รางวัลพ่อดีเด่นแห่งชาติ (2537) |
• |
รางวัลมหาวิทยาลัยมหิดลสาขาการประดิษฐ์ ร่วมกับ รศ.ดร. พิณทิพ รื่นวงษา (2541) |
• |
รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้นจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ร่วมกับ รศ.ดร.พิณทิพ รื่นวงษา (2542) |
• |
รางวัลครูวิทยาศาสตร์ดีเด่นระดับอุดมศึกษาของสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยฯ (2542) |
• |
รางวัลผู้บำเพ็ญคุณประโยชน์ให้กระทรวงสาธารณสุขจากกรมอนามัย (2542) |
|
ประวัติการทำงาน
|
• |
หัวหน้าภาควิชาวิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ ม.มหิดล (2539-2541) |
• |
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวางแผน คณะวิทยาศาสตร์ ม.มหิดล (2530-2534) |
• |
ผู้อำนวยการโครงการสำนักงานส่งเสริมโครงการบัณฑิตศึกษาพิษวิทยา ม.มหิดล (2534-2536) |
• |
ผู้อำนวยการสถาบันนวัตกรรมและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ม.มหิดล (2545-ปัจจุบัน) |
|
ประวัติการทำงานด้านการศึกษา
|
• |
กองบรรณาธิการวารสาร Biochem. Mol. Biol. Educ. (2543-) |
• |
กรรมการทางการศึกษาขององค์การนานาชาติ คือ International Union Of Biochemistry (2527-2528) |
• |
ประธานคณะกรรมการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนของ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (2540-2544) |
• |
ผู้ประสานงานของ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ด้านการพัฒนาการเรียนการสอนทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ (2540-2542) |
• |
กรรมการโครงการจัดการเรียนการสอนกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไปให้สถาบันอุดมศึกษาของ ทบวงมหาวิทยาลัย (2541-2545) |
• |
ประธานคณะกรรมการทำคู่มือสอนเสริมวิชาเคมีของครู และอาจารย์ของสมาคมวิทยาศาสตร์ฯ (2541-2543) |
|
ประวัติการทำงานด้านอื่น ๆ ทางสังคมและระดับประเทศ
|
• |
ประธานจัดงานเคมีโอลิมปิกระดับนานาชาติ ครั้งที่ 31 (2542) ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ |
• |
กรรมการร่างพระราชบัญญัติและผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวัตถุอันตรายตาม พ.ร.บ.วัตถุอันตราย (2535-ปัจจุบัน) |
• |
ที่ปรึกษาฝ่ายสินค้าเคมี การท่าเรือแห่งประเทศไทย (2535-ปัจจุบัน) |
• |
กรรมการจัดระบบการขนส่งวัตถุอันตรายของสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2540-ปัจจุบัน) |
• |
อุปนายกสมาคมวิทยาศาสตร์ (2540-2544) |
• |
นายกสมาคมเคมี (2534-2535), ที่ปรึกษาสมาคมเคมี (2536-ปัจจุบัน) |
• |
ประธานสาขาชีวเคมี สมาคมวิทยาศาสตร์ฯ (2526-2528) , ที่ปรึกษาสาขาชีวเคมีฯ (2529-ปัจจุบัน) |
• |
ประธานจัดประชุมวิชาการวทท. 12 และ 13 (2530-2531) |
• |
กองบรรณาธิการ Journal of the Science Society of Thailand (2518-2542) |
• |
กองบรรณาธิการ Science Asia (2542-ปัจจุบัน) |
• |
กองบรรณาธิการ วาสารวิทยาศาสตร์ (2536-2544) |
• |
ที่ปรึกษาของกระทรวงสาธารณสุขในโครงการขจัดโรคขาดสารไอโอดีนให้หมดจากประเทศไทย (2542-ปัจจุบัน) |
|
ผลงานวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ศึกษา
|
รศ.ดร.ภิญโญ พานิชพันธ์ นอกจากทำการวิจัยและตีพิมพ์ผลงานทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพแล้วยังได้ทำงานวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์ศึกษาไว้มาก มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์ศึกษานานาชาติระดับดีเยี่ยม ในเรื่อง ต่าง ๆ อาทิเช่น
|
• |
เสนอการทดลองใหม่เพื่อสอนหลักการเพิ่มขึ้นจากประสบการณ์การสอนของตนเอง |
• |
แก้ข้อผิดพลาดทางเคมีอินทรีย์และเคมีฟิสิกัล ในตำราเคมีและชีวเคมีภาษาอังกฤษที่ใช้กันแพร่หลายในโลกหลายเล่ม |
• |
เสนอคำอธิบายและแง่คิดใหม่และเสริมเนื้อหาบางหัวข้อในตำรานานาชาติเกี่ยวกับทางเคมีและชีวเคมีหลายเรื่อง |
|
ผลงานตีพิมพ์ด้านวิทยาศาสตร์ศึกษา มีดังนี้คือ
|
*1. |
B. Panijpan (1977) The buoyant density of DNA and The G + C content. J. Chem. Educ. 54, 172-173. |
*2. |
J. Svasti and B. Panijpan (1977) SDS-polyacrylamide gel electrophoresis A simple explanation of why it works. J. Chem. Educ. 54, 560-562. |
3. |
B. Panijpan (1977) Chirality of the disulfide bond in biomolecules. J. Chem. Educ. 54,670-672 |
4. |
K. Rungruangsak and B. Panijpan (1978) Absorbance change in the visible region should be reconsidered for assay of starch cleavage by a-amylases. Clin. Chem. 24(6), 1085. |
*5. |
K. Rungruangsak and B. Panijpan (1979) The mechanism of action of salivary amylase. J. Chem. Educ. 56(6), 423-424. |
6. |
B. Panijpan (1979) The (pteridine ring of folic acid-lactam or lactim form. Biochem. Educ. 7(2), 38. |
7. |
B. Panijpan (1979) Protonation scheme in acid-induced DNA strand separation. Trends in Biochemical Sciences, September N 210-211. |
8. |
B. Panijpan (1979) The meaning of r in sedimentation equations. Biochem. Educ. 7(4), 90. |
9. |
B. Panijpan (1979) The singly protonated structure of thiamine. J. Chem. Educ. 56(12), 805-806. |
10. |
B. Panijpan (1980) A closer look at some biological heterocyclic bases. Biochem. Educ. 8(1), 27-28. |
11. |
B. Panijpan (1980) A model-building exercise. Biochem. Educ. 8(4), 104-105. |
12. |
B. Panijpan (1980) Do chiral molecules necessarily show optical activity? Biochem. Educ. 8(4), 101. |
13. |
P. Puangkanok, J. Jaroensanti and B. Panijpan (1981) A kinetic study of thiamine cleavage by bisulphite using a simple visible spectrophotometer. Biochem. Educ. 9(3), 94-95. |
14. |
B. Panijpan (1984) Biochemical Education : feasible research regardless of resource. Biochem. Educ. 12(3), 133-134. |
|
* สิ่งตีพิมพ์เหล่านี้ได้รับการอ้างอิงในวารสารทางวิทยาศาสตร์ระดับนานาชาติ และวารสารทางวิทยาศาสตร์ศึกษาระดับนานาชาติ และหมายเลข 5 ได้รับเสนอเป็นการทดลองที่น่าทำโดย Americal Chemical-Socitety
บางชิ้น เช่น หมายเลข 1 และ 2 ได้เข้าอยู่ในบทความที่นักศึกษาควรอ่านเพิ่มเติมจากตำรา เช่น ตำราของ Raymond Chany เรื่อง Physical Chemistry (Chemical and Biocal Sciences) ทุก edition ตั้งแต่ปี 1977 จนถึง edition ที่ 3 ปี ค.ศ.2000
นอกจากนี้ยังมีผลงานตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติอีกประมาณ 40 เรื่อง รวมถึงที่อยู่ใน Science (AAAS) J.C.S/Chem.Commun. และ Annals N.Y. Acad.Sci. และอื่น ๆ ที่เกิดจากผลการวิจัยหลังปริญญาเอก ยังมีบทความในวารสารทางวิชาการและมีบทความจากการบรรยายในวารสารประชุมวิชาการอีกจำนวนมาก
|
ผลงานด้านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ |
ได้สร้างสื่อการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ ร่วมกับ ดร.ตวงพร สุทธิพงษ์ชัย และ ดร.จิรันดร ยูวะนิยม สำหรับวิชาชีวเคมีของนักศึกษาบัณฑิต ซึ่งมีแบบฝึกหัดที่มีช่วงเวลา สำหรับแต่ละข้อให้นักศึกษาทำ และให้คะแนนทันทีในหัวข้อ
|
• |
molecular model building |
• |
symmetry and molecular interaction |
|
ได้สร้างสื่อการเรียนการสอนสำหรับฝึกอบรมครูวิทยาศาสตร์ และได้ใช้ในการฝึกอบรมไปหลายครั้ง |