การคำนวณผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการเกิดปฏิกิริยาเคมีนั้นมักจะนิยมคำนวณออกมาในรูปผลผลิตร้อยละ
(percent yield) โดยคำนวณจาก สมการ
ผลผลิตจริง |
คือ
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการทดลองหรือจากการเกิดปฏิกิริยา |
ผลผลิตตามทฤษฎี |
คือ
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการคำนวณตามสมการเคมี เกิดจากปฏิกิริยาที่สมบูรณ์
ผลผลิตร้อยละ จะได้ไม่ถึงร้อยเปอร์เซนต์เนื่องจากการทำการทดลอง
จะเกิดปฏิกิริยาข้างเคียง อาจจะทำให้เกิดสารชนิดอื่นๆ
ได้ นอกจากนี้ สารตั้งต้นอาจจะมีสารชนิดอื่นปนอยู่ด้วย |
ตัวอย่างที่
1 เอทิลอะซีเตตเป็นตัวทำละลายที่ใช้ในการล้างเล็บ
ต้องใช้กรดอะซีติกจำนวนเท่าไรในการเตรียมเอทิลอะซีเตต 252 กรัม
จะได้ผลผลิตร้อยละที่ต้องการคือ 85% และสารตั้งต้นตัวอื่น ได้แก่
เอทานอล และ กรดซัลฟูริก ไม่ได้เป็นสารกำหนดปริมาณ สมการที่เกิดขึ้น
คือ
แนวคิด
จากโจทย์ เรารู้ผลผลิตจริงกับผลผลิตร้อยละของเอทิลอะซีเตด จากสมการ
เราสามารถคำนวณกรดอะซีติกที่ใช้ในปฏิกิริยาเพื่อที่จะได้เอทิลอะซีเตด
296 กรัม
ตัวอย่างที่
2
ในการผลิตสบู่ของกลุ่มแม่บ้านในโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์
ได้ทดลองผลิตโดยใช้ส่วนผสมดังนี้ น้ำมันพืช
(C17H33COOH) 200 g ,potassium hydroxide(KOH)
91.7 g เติมกลิ่นสังเคราะห์ และได้สบู่จำนวน 210 g ในการผลิตจะได้
ผลผลิตร้อยละเท่าไร
แนวคิด
ในการผลิตสบู่จะเกิดปฏิกิริยาดังนี้
C17H33COOH
+ KOH C17H33COOK
+ H2O
1
mol 1mol
1 mol
1 mol
หาสารกำหนดปริมาณ
ดังนั้น
C17H33COOH เป็นสารกำหนดปริมาณ เราสามารถคำนวณหาน้ำหนักของสบู่ซึ่งเป็นผลผลิตตามทฤษฎีได้ดังนี้
ในการทดลองผลิตสบู่ครั้งนี้จะได้ผลผลิตร้อยละ
ดังนี้