1.
เซลล์เคมีไฟฟ้าของเทคนิคโพเทนชิออเมทรีจัดเป็นเชลล์กัลวานิกหรืออิเล็กโทรไลต์เพราะเหตุใด?
|
|
|
2.
จงอธิบายวิธีการเลือกขั้วไฟฟ้าใช้งานสำหรับเทคนิคการวิเคราะห์โดยวิธีโพเทนชิออเมทรี? |
|
|
3.
ทำไมเทคนิควิเคราะห์โดยวิธีโพเทนชิออเมทรีไม่เหมาะสมในการทำคุณภาพวิเคราะห์? |
|
|
4.
เทคนิคดิฟเฟอร์เรนเชียสพัลส์โวลแทมเมทรีต่างจากพัลส์โวลแทมเมทรีแบบปรกติอย่างไร? |
|
|
5.
ขั้วไฟฟ้าที่ใช้สำหรับเทคนิคการวิเคราะห์โดยวิธีโวลแทมเมทรีต่างจากโพเทนชิออเมทรีอย่างไร? |
|
|
6.
การแก้ปัญหาโพลาโรแกรมแบบฟันเลื่อยของวิธีโพลาโรกราฟีทำได้อย่างไร? |
|
|
7.
เทคนิคโวลแทมเมทรีสามารถถูกนำมาประยุกต์ในการทำคุณภาพและปริมาณวิเคราะห์ได้อย่างไร? |
|
|
8.
ทำไมการวิเคราะห์เชิงเคมีไฟฟ้าโดยเทคนิคโวลแทมเมทรีนิยมใช้ขั้วไฟฟ้าจุลภาคเป็นขั้วไฟฟ้าใช้งาน? |
|
|
9.
ขั้วไฟฟ้าช่วยมีความสำคัญต่อเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเคมีไฟฟ้าโวลแทมเมทรีอย่างไร? |
|
|
10.
ข้อดีของขั้วไฟฟ้าแบบหยดปรอทมีอะไรบ้าง? |
|
|
11.
เทคนิคดิฟเฟอร์เรนเชียสพัลส์โวลแทมเมทรีต่างจากพัลส์โวลแทมเมทรีแบบปรกติอย่างไร? |
|
|
12.
ขั้วไฟฟ้าที่ใช้สำหรับเทคนิคการวิเคราะห์โดยวิธีโวลแทมเมทรีต่างจากโพเทนชิออเมทรีอย่างไร? |
|
|
13. จงบอกความเหมือนและความแตกต่างของเทคนิคอิเล็กโทรแกรวิเมทรีและเทคนิคคูลอมเมทรีมาพอเข้าใจ? |
|
|
14. จงคำนวณหาความเข้มข้นของ
Pb2+ ในสารละลายตัวอย่าง ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคคูลอมเมทรี
โดยให้มีกระแสขนาด 0.500 mA ผ่านสารละลายตัวอย่าง 25.00 mL เป็นเวลา
30 นาที? |
|
|
15.
ส่วนประกอบสำคัญของไบโอเซนเซอร์มีอะไรบ้าง ? |
|
|
16.
จากกลูโคสเซนเซอร์ของคล้าค โมเลกุลที่ให้อิเล็กตรอนแก่อิเล็กโทรดคือโมเลกุลใดระหว่างแก๊สออกซิเจนกับแก๊สไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์? |
|
|