อัตราการเกิดปฏิกิริยา (reaction rate, r) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารตั้งต้นหรือสารผลิตภัณฑ์เมื่อเวลาเปลี่ยนไป
ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์กับเวลา ในขณะที่เกิดปฏิกิริยาโมเลกุลของสารตั้งต้นก็จะเปลี่ยนเป็นสารผลิตภัณฑ์ ทำให้ความเข้มข้นของสารตั้งต้นลดลง ส่วนความเข้มข้นของสารผลิตภัณฑ์ก็จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เราจึงสามารถติดตามการดำเนินไปของปฏิกิริยาได้จาก
การวัดความเข้มข้นที่ลดลงของสารตั้งต้น
พิจารณาปฏิกิริยา ถ้าแทนความเข้มข้นของสารในปฏิกิริยา คือ [A], [B] และ [C] เราจะสามารถหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาได้จาก
ตัวอย่างที่ 1 การสลายตัวของ H2O2 ได้เป็น O2 และ H2O
พิจารณาปฏิกิริยา จะได้ว่า อัตราการเกิดสารผลิตภัณฑ์ C = 3 x (อัตราการลดลงของสารตั้งต้น A) อัตราการเกิดปฏิกิริยา คือ
ตัวอย่างที่ 2 จากปฏิกิริยาการสลายตัวของ NOBr พบว่า อัตราการเกิด NO มีค่าเท่ากับ 1.6 x 10-4 mol L-1 s-1 จงคำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยา และอัตราการลดลงของ NOBr ?
วิธีคิด
จากการทดลองพบว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอัตราการเกิดปฏิกิริยามี 6 ปัจจัย ดังนี้
|