1-3-3 การเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงตัว
|
 |

ในตอนนี้จะเป็นการหาสมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความเร็ว
ความเร่ง และ การกระจัด ในกรณีของความเร่งคงตัวในหนึ่งมิติ
คล้ายเนื้อหาในระดับมัธยมปลาย โดยเริ่มพิจารณาจากขนาดของความเร็วเฉลี่ยตามสมการที่
(1-8)
ดังนั้น
หรือ

โดยที่


คือ
ความเร็วปลาย ที่ระดับมัธยมปลายใช้


คือ
ความเร็วต้น ที่ระดับมัธยมปลายใช้ u


เป็นความเร่งซึ่งต้องเป็นค่าคงตัวเท่านั้น
ความเร่งเฉลี่ย จึงเท่ากับความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง


คือ
ช่วงเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ ซึ่ง

โดยในระดับมัธยมปลายนิยมเลือกให้

และเรียก

ด้วย t จนเหลือสูตร

แต่ในที่นี้จะยังคงไว้ในรูปของ

สำหรับกราฟสัมพันธ์ระหว่าง

และ t ตามสมการ

สามารถแสดงได้ดังรูปที่
1-3

จากสมการ

โดยที่
Δx คือกระจัดในช่วงเวลา Δt จะเห็นว่า ถ้าต้องการทราบความเร็วเฉลี่ย
จะต้องทราบการกระจัดก่อน ซึ่งการกระจัด จะหาได้ง่ายในกรณีที่ความเร็วมีค่าคงตัว
โดยการกระจัดก็คือผลคูณของความเร็วกับเวลา แต่หากว่าความเร็วไม่คงตัว
เช่น กรณีที่มีความเร่งเหมือนในขณะนี้ เราจะต้องแยกคิดเวลาทีละส่วนย่อยๆ
ซึ่งในแต่ละส่วนนั้น เล็กพอที่จะประมาณได้ว่า ความเร็วคงตัวแล้วจึงรวมการกระจัดทั้งหมด
ซึ่งเราสามารถแสดงว่า การกระจัดทั้งหมดก็คือพื้นที่ใต้กราฟระหว่าง
และ นั่นเอง

สำหรับในกรณีดังรูปที่
1-3 จะได้ว่า


การกระจัด
= พื้นที่ใต้กราฟ =พื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู =

นั่นคือ

เราสามารถใช้ผลจากสมการที่
(1-19) ร่วมกับนิยามของความเร็วเฉลี่ย ทำให้เราสามารถหาความเร็วเฉลี่ยได้เป็น

นั่นคือความเร็วเฉลี่ยมีค่าเป็น

ควรจะจำว่าความเร็วเฉลี่ยตามสมการที่
(1-20) นั้นเป็นจริง โดยมีเงื่อนไขว่าความเร่งต้องคงตัวเท่านั้น

แทนสมการที่
(1-18) ลงในสมการที่ (1-19) ทำให้สามารถเขียนการกระจัด
Δx ได้เป็น

สมการที่
(1-21) แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัดกับเวลา

เนื่องจากสมการที่
(1-12) สามารถเขียนได้เป็น

แทนสมการที่
(1-22) ลงในสมการที่ (1-19) จะได้สมการของการกระจัด
ในอีกรูปแบบหนึ่งดังนี้

หรือ
หมายเหตุ
ในระดับมัธยมปลายนิยมกำหนดให้เวลาเริ่มต้น

แทน ด้วย t และแทน Δx ด้วยการกระจัด s ทำให้สมการที่
(1-21) เขียนใหม่ได้เป็น
และ
สมการที่ (1-23) เขียนใหม่ได้เป็น