รูปที่ 4-11 แสดงการชนของวัตถุใน 2 มิติ

ลองพิจารณากรณีที่วัตถุมวล ชนกับวัตถุมวล ที่อยู่นิ่ง ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแนวทางการเคลื่อนที่ของวัตถุดังรูป โดยวัตถุมวล เบี่ยงเบนจากแนวอ้างอิงไป ในขณะที่วัตถุมวล เบี่ยงเบนจากแนวอ้างอิงไป และเนื่องจากการคงตัวของโมเมนตัมนี้เป็นจริงสำหรับส่วนประกอบในแนวแกน x และ y กล่าวคือ และ แต่เนื่องจาก ดังนั้น

(แนวแกน x)        
(4-27)

(แนวแกน y)             
(4-28)

และถ้าสมมติว่าการชนนี้เป็นแบบยืดหยุ่น จะสามารถใช้กฎการทรงพลังงานจลน์ด้วย

  
(4-29)

สมการที่ 4-27, 4-28 และ 4-29 คือ สามสมการที่ใช้ในการแก้หาค่าของตัวแปรที่ไม่ทราบค่า ดังจะแสดงให้เห็นในตัวอย่างที่ 4-5

ตัวอย่างที่ 4-5 (การชนของลูกบิลเลียดใน 2 มิติ)

         รูปที่ 4-12 แสดงการชนของลูกบิลเลียด m1 ซึ่งวิ่งด้วยความเร็ว ไปทางขวา เข้าชนลูกบิลเลียด m2 ซึ่งอยู่นิ่ง โดยจากผลการชน ทำให้ลูกบิลเลียด m2 เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว โดยมีแนวทางการเคลื่อนที่ทำมุม กับแกน x จงหาว่าลูกบิลเลียดมวล m1 มีการเบี่ยงเบนไปจากแนวแกนเดิมเท่าไร ถ้าการชนที่กำลังพิจารณานี้เป็นการชนแบบยืดหยุ่น และลูกบิลเลียดทั้งสองลูกมีมวลเท่ากัน (โดยไม่คิดว่ามีแรงเสียดทานและการหมุนของลูกบอลมาเกี่ยวข้อง)

         วิธีทำ

รูปที่ 4-12 สำหรับตัวอย่างที่ 4-5
         การคงตัวของโมเมนตัมในแนวแกน x จากสมการที่ (4-27)



         เนื่องจาก ทำให้ได้ว่า

  
(4-30)

         การคงตัวของโมเมนตัมในแนวแกน y จากสมการที่ (4-28)

      


         จัดรูปได้เป็น

      
(4-31)

         การคงตัวของพลังงานจลน์ จากสมการที่ (4-29)

      


         ซึ่งสามารถจัดรูปได้เป็น

      
(4-32)

         สมการที่ 4-30,4-31 และ 4-32 คือระบบสมการที่ประกอบด้วย 3 สมการ ที่สามารถใช้แก้หาค่าตัวแปรที่ไม่ทราบค่า 3 ตัวคือ 1, 2 และ θ ได้ ส่วนตัวแปร 1 และ φ เป็นตัวแปรที่ทราบค่า

         เราอาจจะแก้สมการทั้งสามได้โดยการยกกำลังสองสมการที่ 4-30 และ 4-31 แล้วนำมาบวกกัน จะได้



         ซึ่งจัดรูปได้เป็น

      
(4-33)

         แทน จากสมการที่ 4-32 ลงในสมการที่ 4-33 จะได้

      
(4-33B)

         จะได้ว่า 

      
(4-33C

         ซึ่งมีคำตอบสองคำตอบสำหรับ คือ

       หรือ
(4-33D)

         คำตอบที่เป็นศูนย์คือกรณีที่การชนไม่เกิดขึ้น ดังนั้น เราจึงไม่สนใจและเลือกตอบเฉพาะ

      
(4-34)

         แทนค่า 2 จากสมการที่ 4-34 ลงในสมการที่ 4-32 จะได้ว่า

      


         ใช้เฉพาะเครื่องหมายบวก เพราะ 1 เป็นลบจะทำให้ไม่มีโมเมนตัมในทิศ +y เลย ซึ่งจะขัดกับกฎการคงตัวของโมเมนตัม
31 (4-35)
      
(4-35)

         แทนสมการที่ 4-34 และ 4-35 ลงในสมการที่ 4-31 จะได้ว่า

      
(4-36)

         แทนค่าตัวเลขต่างๆ ลงไปในสมการที่ 4-34, 4-35 และ 4-36 จะได้ว่า

      



ที่มา : http://www.upscale.utoronto.ca/GeneralInterest/Harrison/Flash/