โดย สุนทรียา สาเนียม1 และ รศ.ดร.ขจรศักดิ์ บัวระพันธ์2
1นักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษาและเทคโนโลยีศึกษา สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล
2อาจารย์ประจำ สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล
จากความตอนที่แล้วผู้อ่านทุกท่านคงได้ทราบถึงความสำคัญของการรู้คิดเพื่อใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในบริบทการศึกษาของประเทศไทย ซึ่งจะพบว่า การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการรู้คิดในวิชาวิทยาศาสตร์มีเป็นจำนวนหนึ่งแต่ยังไม่แพร่หลายมากนัก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะนักวิจัยหรือนักการศึกษายังให้ความหมาย คำนิยาม หรือองค์ประกอบของ “การรู้คิด” (Metacognition) ไว้แตกต่างกัน ผู้เขียนจึงขอใช้พื้นที่ในบทความตอนนี้เพื่อเล่าถึงประวัติความเป็นมาของการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการรู้คิดดังนี้...อ่านเพิ่มเติมได้ที่ https://il.mahidol.ac.th/th/newsletter55/