multiwire chamber
แซมเมียล ติง |
เบอร์ตัน ริคเตอร์ |
multiwire
chamber มีประโยชน์มากในการศึกษาอนุภาค เบอร์ตั น ริคเตอร์ (Burton
Richter ) และแซมเมียล ซี. ซี. ติง (Samuel C.C. Ting)ได้ค้นพบอนุภาคที่มีลักษณะเดียวกัน
ทั้งๆ ที่เขาทั้งสองคนไม่ได้ทำการทดลองร่วมกันเลย อนุภาคที่เขาทั้งสองคนค้นพบได้ปัจจุบันเรียกว่า
อนุภาค เจ/ซาย (J/ψ) จากการค้นพบอนุภาคเจ/ซายทำให
้เขา ทั้งสองคนร่วมกันรับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี ค.ศ. 1976 อนุภาค เจ/ซาย (J/ψ) นี้มีมวล ประมาณ
3.1 GeVซึ่งในปัจจุบันทราบว่ามีควาร์กมีเสน่ห์เป็นองค์ประกอบอยู่ภายใน
คาร์โล รุบเบีย |
ไซมอน แวนเดอร์ เมียร์
|
นอกจากนั้นการค้นพบอนุภาค "W" และ อนุภาค "Z" ทำให้ คาร์โล รุบเบีย (Carlo Rubbia)
และ ไซมอน แวนเดอร์ เมียร์ (Simon van der Meer) แห่ง
CERN ได้รับรางวัลโนเบลในปี ค.ศ. 1984 ก็เป็นส่วนหนึ่งของการใช้ multiwire
chamber ในการศึกษา จากภาพด้านบนอนุภาค Z เกิดขึ้นแล้วสลายตัวกลายเป็นอิเล็กตรอนและโพสิตรอนอย่างรวดเร็ว
จำนวนครั้งที่ตรวจจับ
อนุภาคเจ/ซาย(J/ψ)ได้ |
อนุภาค W และ อนุภาค Z ที่ตรวจพบ |
|