
ถ้าเราทำการเลื่อนตำแหน่งของอนุภาคจากจุด

ไปยังจุด

ดังรูป ภายใต้แรงกระทำเนื่องจากความโน้มถ่วงของโลก

เราสามารถหาการเปลี่ยนแปลงพลังงานศักย์ของอนุภาคนี้ได้โดยอาศัยสมการที่
(3-26) ภายใต้แรงกระทำเนื่องจากความโน้มถ่วงของโลก

เมื่อพิจารณาระบบที่บริเวณใกล้ผิวโลก
ค่า g คงที่

สมการที่
(3-27) แสดงให้เห็นว่า การเปลี่ยนแปลงของพลังงานศักย
์เนื่องจากความโน้มถ่วงของโลก ขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนตำแหน่งของอนุภาคในแนวดิ่ง

เท่านั้น

เมื่อพิจารณาสมการที่
3-27 แล้วเขียนใหม่ในรูป
จะได้ว่า
เราสามารถที่จะกำหนดให้ 
เพื่อให้ได้
และ
นั่นคือ U ที่ตำแหน่งใดก็ขึ้นกับค่า y ที่ตำแหน่งนั้น
เท่านั้น โดยที่ cเป็นค่าคงที่ของการอินทิเกรต และเราสามารถหาค่า
(กำหนดค่า) c ได้ โดยการกำหนดจุดอ้างอิง เช่น กำหนดว่า
U = 0 เมื่อ y = 0 เป็นต้น ซึ่งก็จะทำให้ได้สูตร
หรือที่คุ้นเคยกันดีในรูป