
IL Sustainable Development Goals
No posts found!
เป้าหมายที่ 1: ขจัดความยากจนทุกรูปแบบในทุกพื้นที่ (End poverty in all its forms everywhere)
เป้าหมายที่ 2 : ยุติความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหารและยกระดับโภชนาการและส่งเสริมเกษตรกรรมที่ยั่งยืน (End hunger, achieve food security and improved nutrition and promote sustainable agriculture)
เป้าหมายที่ 3
สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมสวัสดิภาพสำหรับทุกคนในทุกวัย (Ensure healthy lives and
promote well-being for all at all ages)
หัวข้อ | รายละเอียด |
---|---|
ชื่อกิจกรรม/โครงการ | สัปดาห์ป้องกันอัคคีภัย ประจำปี 2562 |
ที่มาและความสำคัญ | สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้เห็นถึงความเสี่ยงในการเกิดอัคคีภัยในที่ทำงาน จึงจัดโครงการสัปดาห์ป้องกันอัคคีภัยขึ้นเพื่อให้บุคลากรได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนการปฎิบัติเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัยขึ้น |
ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม/โครงการ | 11-15 พฤศจิกายน 2562 |
สถานที่จัดกิจกรรม/โครงการ | สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล |
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ผู้มีส่วนได้เสีย | สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ |
วัตถุประสงค์ | เพื่อให้บุคลากรและนักศึกษาของสถาบันฯ ตระหนักในความสำคัญถึงแผนก่อนเกิดเหตุเพลิงไหม้ ที่จะปฏิบัติก่อนเกิดอัคคีภัย เพื่อป้องกันและเตรียมพร้อมเผชิญเหตุการณ์อัคคีภัยไว้ล่วงหน้า |
รูปแบบการดำเนินกิจกรรม/โครงการ | ฟังการบรรยาย ฝึกปฏิบัติและบอร์ดประชาสัมพันธ์ |
กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มผู้ร่วมกิจกรรม | บุคลากรและนักศึกษาสถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ |
จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม | 34 |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์จากกิจกรรม | มีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน | Click |
รูปภาพประกอบ | ![]() |
SDG goal ที่เกี่ยวข้อง | 3 |
หัวข้อ | รายละเอียด |
---|---|
ชื่อกิจกรรม/โครงการ | โครงการอบรมการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย (JSA) ประจำปี 2563 |
ที่มาและความสำคัญ | สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ตระหนักในความสำคัญในเรื่องความปลอดภัย อาชีวอนามัย ทั้งของบุคลากร ผู้มาปฏิบัติงาน และผู้มารับบริการทุกคน รวมไปถึงสภาพแวดล้อมของมหาวิทยาลัยที่ถูกสุขลักษณะและปลอดภัย จึงได้จัดโครงการอบรมการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย (JSA) สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปี 2563 |
ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม/โครงการ | 7 สิงหาคม 2563 |
สถานที่จัดกิจกรรม/โครงการ | ห้องประชุม IL5 อาคารสถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล |
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ผู้มีส่วนได้เสีย | ศูนย์บริหารความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน (COSHEM)/สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ |
วัตถุประสงค์ | เพื่อนำผลการวิเคราะห์ความปลอดภัยไปจัดทำคู่มือบริหารความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน |
รูปแบบการดำเนินกิจกรรม/โครงการ | ฟังบรรยายและทำ Workshop |
กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มผู้ร่วมกิจกรรม | บุคลากรสถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ |
จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม | 5 |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์จากกิจกรรม | – |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน | Click |
รูปภาพประกอบ | ![]() |
SDG goal ที่เกี่ยวข้อง | 3 |
เป้าหมายที่ 4: สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม
และสนับสนุนโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Ensure inclusive and equitable quality education and promote lifelong
learning opportunities for all)
หัวข้อ | รายละเอียด |
---|---|
ชื่อกิจกรรม/โครงการ | พิธีลงนามความร่วมมือระหว่าง สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ กับ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ สมุทรสาคร |
ที่มาและความสำคัญ | – |
ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม/โครงการ | 4 ตุลาคม 2562 |
สถานที่จัดกิจกรรม/โครงการ | โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ สมุทรสาคร ในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี |
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ผู้มีส่วนได้เสีย | สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ กับ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ สมุทรสาคร |
วัตถุประสงค์ | เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการระหว่างโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯ และสถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล และเพื่อร่วมมือในการยกระดับต่อยอดองค์ความรู้ในการจัดการเรียนการสอน นำนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาประยุกต์ให้เกิดผลดีกับนักเรียนและครู โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯ |
รูปแบบการดำเนินกิจกรรม/โครงการ | พิธีลงนาม |
กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มผู้ร่วมกิจกรรม | นักเรียนและครู โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯ |
จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม | – |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์จากกิจกรรม | การพัฒนาผู้เรียนทุกระดับการศึกษาให้มีทักษะกระบวนการสอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ในสษวรรษที่ 21 |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน | Click |
รูปภาพประกอบ | ![]() |
SDG goal ที่เกี่ยวข้อง | 4 |
หัวข้อ | รายละเอียด |
---|---|
ชื่อกิจกรรม/โครงการ | โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ คิดโค้ด (Kid Code) 6 ตุลาคม 2562 |
ที่มาและความสำคัญ | – |
ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม/โครงการ | 6 ตุลาคม 2562 |
สถานที่จัดกิจกรรม/โครงการ | ห้องประชุม 109 ชั้น 1 อาคารปัญญาพิพัฒน์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา |
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ผู้มีส่วนได้เสีย | สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ |
วัตถุประสงค์ | สร้างความรู้เบื้องต้นในการเขียน Code ที่สามารถนำไปต่อยอดการเรียนรู้ในขั้นสูงต่อไป |
รูปแบบการดำเนินกิจกรรม/โครงการ | อบรมเชิงปฏิบัติการ |
กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มผู้ร่วมกิจกรรม | นักเรียนระดับประถมศึกษา |
จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม | 11 |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์จากกิจกรรม | ผู้เรียนได้เข้าใจตรรกะในการโค้ดดิ้ง เพื่อต่อยอดไปถึงการใช้เขียนโปรแกรมในระดับที่สูงขึ้น |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน | Click |
รูปภาพประกอบ | ![]() |
SDG goal ที่เกี่ยวข้อง | 4 |
หัวข้อ | รายละเอียด |
---|---|
ชื่อกิจกรรม/โครงการ | โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การจัดการเรียนรู้ตามธรรมชาติของสมอง” ณ ม.ศรีปทุม |
ที่มาและความสำคัญ | – |
ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม/โครงการ | 15-16 ตุลาคม 2562 |
สถานที่จัดกิจกรรม/โครงการ | มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร |
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ผู้มีส่วนได้เสีย | สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้/คณาจารย์มหาวิทยาลัยศรีปทุม |
วัตถุประสงค์ | เพื่อเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจในหลักการของ Brain-Based Learning และสามารถประยุกต์ใช้กับการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
รูปแบบการดำเนินกิจกรรม/โครงการ | อบรมเชิงปฏิบัติการ |
กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มผู้ร่วมกิจกรรม | คณาจารย์มหาวิทยาลัยศรีปทุม |
จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม | 23 |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์จากกิจกรรม | ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำความรู้ความเข้าใจจากการอบรมไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน | Click |
รูปภาพประกอบ | ![]() |
SDG goal ที่เกี่ยวข้อง | 4 |
หัวข้อ | รายละเอียด |
---|---|
ชื่อกิจกรรม/โครงการ | โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ คิดโค้ด (Kid Code) และ พามาโค้ด (PaMa Code) |
ที่มาและความสำคัญ | – |
ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม/โครงการ | 19 ตุลาคม 2562 |
สถานที่จัดกิจกรรม/โครงการ | ห้องประชุม 109 อาคารปัญญาพิพัฒน์ สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ / ห้องประชุม IL 5 อาคาร สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ |
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ผู้มีส่วนได้เสีย | สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ |
วัตถุประสงค์ | เพื่อสร้างความรู้เบื้องต้นในการเขียน Code ที่สามารถนำไปต่อยอดการเรียนรู้ในขั้นสูง(Kid Code) / เพื่อเข้าใจการเรียนรู้โค้ดดิ้งของลูกในระดับประถมศึกษา(PaMa Code) |
รูปแบบการดำเนินกิจกรรม/โครงการ | อบรมเชิงปฏิบัติการ |
กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มผู้ร่วมกิจกรรม | นักเรียนระดับประถมศึกษาและผู้ปกครอง |
จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม | 7 (Kid Code) / 6 (PaMa Code) |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์จากกิจกรรม | ผู้เรียนได้เข้าใจตรรกะในการโค้ดดิ้ง เพื่อต่อยอดไปถึงการใช้เขียนโปรแกรมในระดับที่สูงขึ้น |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน | Click |
รูปภาพประกอบ | ![]() |
SDG goal ที่เกี่ยวข้อง | 4 |
หัวข้อ | รายละเอียด |
---|---|
ชื่อกิจกรรม/โครงการ | โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “NeuroLeadership For Innovative And Strategic Executives (NISE): ภาวะผู้นำเชิงประสาทวิทยาศาสตร์สำหรับผู้บริหารเชิงนวัตกรรมและกลยุทธ์” |
ที่มาและความสำคัญ | สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “NeuroLeadership for Innovative and Strategic Executives (NISE): ภาวะผู้นำเชิงประสาทวิทยาศาสตร์สำหรับผู้บริหารนวัตกรรมและเชิงกลยุทธ์” ขึ้น โดยมีเนื้อหาสาระหลักครอบคลุม NeuroLeadership ซึ่งมีคุณลักษณะดังกล่าวข้างต้น ครอบคลุม SCARF Brain-Based Model ซึ่งเป็นเครื่องมือโมเดลการบริหารตามธรรมชาติของสมอง (ประกอบด้วย Status, Certainty, Autonomy, Relatedness และ Fairness) การอ่านคนลักษณะต่างๆ ตาม DISCO Personality Style (ประกอบด้วย Dominant, Influential, Supportive, Conscientious และ Open Personality Styles) ซึ่งสามารถประยุกต์กับประสาทวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาการเป็นผู้นำและจูงใจคนเพื่อสร้างความร่วมมือและการมีอิทธิพลต่อผู้อื่น และเทคนิคการสร้างทีมงานเชิงกลยุทธ์ อันจะทำให้ผู้บริหารระดับสูงมีความรู้ ความสามารถ เปิดมุมมองและกระบวนทัศน์ให้เป็นผู้นำเชิงประสาทวิทยาศาสตร์ ที่มีกลยุทธ์และชั้นเชิงในการนำองค์กร ในยุคที่มีความพลิกผันทางเทคโนโลยี (Disruptive Technology) สู่ความสำเร็จขององค์กรอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล |
ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม/โครงการ | 3-4 สิงหาคม 2563 |
สถานที่จัดกิจกรรม/โครงการ | โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพ สุขุมวิท 20 |
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ผู้มีส่วนได้เสีย | สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ |
วัตถุประสงค์ | เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถในการมีภาวะผู้นําเชิงประสาทวิทยาศาสตร์ (NeuroLeadership) ซึ่งเป็นนวัตกรรมการบริหารที่ยังไม่เคยมีการฝึกอบรมในประเทศไทย และส่งเสริมการเพิ่มพูน ศักยภาพการมีภาวะผู้นําของผูบริหารระดับสูง ให้เป็นผู้นําที่ smart เพิ่มขึ้น สามารถบูรณาการความรู้ทางด้าน ประสาทวิทยาศาสตร์ จิตวิทยาการเป็นผู้นํา จิตวิทยาการมีอิทธิพลต่อผู้อื่น จิตวิทยาการปลูกจิตอาสาและการมี ส่วนร่วม การสร้างทีมงานเชิงกลยุทธ์ การบริหารการเปลี่ยนแปลง และการส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมในองค์กร เพื่อใช้ในการบริหารงานเชิงกลยุทธ์ต่างๆ ในยุคความพลิกผันทางเทคโนโลยี (Disruptive Technology) ได้อย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล |
รูปแบบการดำเนินกิจกรรม/โครงการ | ฟังการบรรยาย / การอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / ฝึกปฏิบัติ และ นำเสนอ |
กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มผู้ร่วมกิจกรรม | ผู้บริหาร หัวหน้าหน่วยงาน องค์กรภาครัฐและเอกชน ผู้บริหารการศึกษา คณาจารย์ และบุคคลทั่วไป |
จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม | 35 |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์จากกิจกรรม | ผู้เข้าอบรมสามารถทำความเข้าใจในฐานะผู้นำและผู้ใต้บังคับบัญชา และสามารถนำไปใช้ในการบริหารงานของตนเองได้ |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน | Click |
รูปภาพประกอบ | ![]() |
SDG goal ที่เกี่ยวข้อง | 4 |
หัวข้อ | รายละเอียด |
---|---|
ชื่อกิจกรรม/โครงการ | โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “เทคนิคการสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ สำหรับผู้เรียนแห่งศตวรรษที่ 21” |
ที่มาและความสำคัญ | ด้วยการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในยุคปัจจุบัน ทั้งครูและนักเรียนต้องพร้อมกับการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะครูถูกสังคมคาดหวังให้เปลี่ยนแปลงบทบาทเพื่อขับเคลื่อนให้เกิดพัฒนาศักยภาพนักเรียนให้เป็นบุคคลแห่งศตวรรษที่ 21 เพราะนักเรียนคือทุนมนุษย์ที่สำคัญในการขับเคลื่อนประเทศให้ก้าวพ้นการเป็นประเทศที่กำลังพัฒนา ครูจำต้องมีนวัตกรรมทางการศึกษา มีทักษะการสอนที่ทันสมัย สามารถตอบสนองผู้เรียนที่แตกต่างและหลากหลาย เพื่อให้สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะคิดขั้นสูงและมีพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปตามแค่ความต้องการในศตวรรษที่ 21 สิ่งสำคัญคือ ครูจำต้องปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนการเพื่อให้นักเรียนเป็น “เจ้าของ” การเรียนรู้ ลดการ (สั่ง) สอนมาเป็นการถามและการฟังนักเรียนมากขึ้น เพื่อตอบสนองนโยบายThailand 4.0 คำว่า “นวัตกรรมการเรียนรู้” จึงสำคัญ เพราะการพัฒนานวัตกรรม ครูจำเป็นต้องรู้ลึกรู้จริงและสามารถบูรณาการกระบวนการ วิธี และสื่อการเรียนรู้ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยความสำเร็จของนวัตกรรมการเรียนรู้ที่สามารถส่งเสริมให้นักเรียนสร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง ผู้เข้ารับการอบรมจะได้กรอบแนวคิดเพื่อพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา รวมถึงออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และการวัดประเมินผลในห้องเรียนวิทยาศาสตร์ ที่มุ่งหมายให้เกิดการพัฒนาผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพและครอบคลุมทั้งสามฐานคือ “ฐานใจ ฐานกาย และฐานคิด” อันจะส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนอย่างแท้จริง |
ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม/โครงการ | 17 – 18 กันยายน 2563 |
สถานที่จัดกิจกรรม/โครงการ | ห้อง IL5 สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา |
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ผู้มีส่วนได้เสีย | สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ |
วัตถุประสงค์ | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้กรอบแนวคิดการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา รวมถึงออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และการวัดประเมินผล โดยมุ่งหมายให้เกิดการพัฒนาผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพ |
รูปแบบการดำเนินกิจกรรม/โครงการ | อบรมเชิงปฏิบัติการ |
กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มผู้ร่วมกิจกรรม | บุคลากร นักศึกษา ครู อาจารย์ นักการศึกษา และผู้สนใจทั่วไป |
จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม | 25 |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์จากกิจกรรม | ผู้เข้าอบรมได้กรอบแนวคิดการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา เพื่อการพัฒนาผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพและครอบคลุมทั้งสามฐานคือ “ฐานใจ ฐานกาย และฐานคิด” |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน | Click |
รูปภาพประกอบ | ![]() |
SDG goal ที่เกี่ยวข้อง | 4 |
เป้าหมายที่ 5: บรรลุความเท่าเทียมระหว่างเพศ และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่สตรีและเด็กหญิง (Achieve gender equality and empower all women and girls)
เป้าหมายที่ 6: สร้างหลักประกันว่าจะมีการจัดให้มีน้ำและสุขอนามัยส้าหรับทุกคนและมีการบริหารจัดการที่ยั่งยืน (Ensure availability and sustainable management of water and sanitation for all)
เป้าหมายที่ 7: สร้างหลักประกันให้ทุกคนสามารถเข้าถึงพลังงานสมัยใหม่ที่ยั่งยืนในราคาที่ย่อมเยา (Ensure access to affordable, reliable, sustainable and modern energy for all)
เป้าหมายที่ 8: ส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ต่อเนื่อง ครอบคลุม และยั่งยืน การจ้างงานเต็มที่ มีผลิตภาพ และการมีงานที่เหมาะสมสำหรับทุกคน (Promote sustained, inclusive and sustainable economic growth, full and productive employment and decent work for all)
เป้าหมายที่ 9: สร้างโครงสร้างพื้นฐานที่มีความทนทาน ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมและยั่งยืน และส่งเสริมนวัตกรรม (Build resilient infrastructure, promote inclusive and sustainable industrialization and foster innovation)
เป้าหมายที่ 10: ลดความไม่เสมอภาคภายในประเทศและระหว่างประเทศ (Reduce inequality within and among countries)
เป้าหมายที่ 11: ทำให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความครอบคลุม ปลอดภัย มีภูมิต้านทานและยั่งยืน (Make cities and human settlements inclusive, safe, resilient and sustainable)
เป้าหมายที่ 12: สร้างหลักประกันให้มีรูปแบบการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน (Ensure sustainable consumption and production patterns)
เป้าหมายที่ 13: การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
เป้าหมายที่ 14: อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากมหาสมุทร ทะเล และทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Conserve and sustainably use the oceans, seas and marine resources for sustainable development)
เป้าหมายที่ 15: ปกป้อง ฟื้นฟู และสนับสนุนการใช้ระบบนิเวศบนบกอย่างยั่งยืน จัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน ต่อสู้กับการกลายสภาพเป็นทะเลทราย หยุดการเสื่อมโทรมของที่ดินและฟิ้นสภาพกลับมาใหม่ และหยุดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ (Protect, restore and promote sustainable use of terrestrial ecosystems, sustainably manage forests, combat desertification, and halt and reverse land degradation and halt biodiversity loss)
เป้าหมายที่ 16: ส่งเสริมสังคมที่สงบสุขและครอบคลุมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ให้ทุกคนเข้าถึงความยุติธรรมและสร้างสถาบันที่มีประสิทธิผลรับผิดชอบและครอบคลุมในทุกระดับ (Promote peaceful and inclusive societies for sustainable development, provide access to justice for all and build effective, accountable and inclusive institutions at all levels)
เป้าหมายที่ 17: เสริมความเข้มแข็งให้แก่กลไกการดำเนินงานและฟื้นฟูสภาพหุ้นส่วนความร่วมมือระดับโลกสำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน
(Strengthen the means of implementation and revitalize the Global Partnership for Sustainable Development)